411501 Science Curriculum Development ป.โท 1/54

สัปดาห์ที่ 1 วิทยาศาสตร์คืออะไร คู่มือการพิมพ์ th_salaban
สัปดาห์ที่ 2 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
สัปดาห์ที่ 3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สัปดาห์ที่ 4 สอบครั้งที่ 1 ธรรมชาติในการสอนวิชาวิทยาศาสตร์
สัปดาห์ที่ 5-6 ประวัติและความหมายของการศึกษาและหลักสูตรในประเทศไทย เอกสารประกอบการเรียน
สัปดาห์ที่ 7-9 กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรผ้าบาติก

สัปดาห์ที่ 10 ปัจจัยขั้นพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ปัจจัยด้านปรัชญาการศึกษา
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ปัจจัยด้านสังคม วัฒนธรรม และการเมือง
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยี

พิเศษ
วันเสาร์ที่ 13 สิงหาคม 2554 : ส่งรายงานและนำเสนอ ปัจจัยขั้นพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
วันอังคารที่ 9 สิงหาคม 2554 : ส่งหลักสูตรขนาดเล็กทาง mail ทุกคน
วันพฤหัสบดีที่ 18 สิงหาคม 2554 : กลุ่มที่ไม่ได้ทำงานวันธรรมดา ส่งรายงาน (เย็บมุม) นำเสนอหลักสูตร ppt ณ ห้อง QS1-303B
วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม 2554 : กลุ่มที่ทำงานวันธรรมดา ส่งรายงาน (เย็บมุม) นำเสนอหลักสูตร ppt ณ ห้อง QS1-407
กำหนดให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบหลักสูตร อย่างน้อย 1 คน ระหว่างวันที่ 18 สค - 24 สค 54
กำหนดให้ทดลองใช้หลักสูตร ระหว่างวันที่ 20 สค - 27 สค 54 เพื่อนำเสนอผลการทดลองใช้
หลักสูตรในวันที่ 27 สิงหาคม 2554

สัปดาห์ที่ 12 นำเสนอหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น (27 สิงหาคม 2554)
สัปดาห์ที่ 13 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (3 กันยายน 2554)
- เอกสารประกอบ
สัปดาห์ที่ 14 นำเสนอผลการใช้หลักสูตรที่พัฒนาขึ้น (10 กันยายน 2554)
- นำเสนอภาพรวมของหลักสูตรอย่างสั้น 5 นาที
- นำเสนอผลการนำหลักสูตรไปใช้ + ภาพประกอบ (ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ) ประมาณ 5 นาที
- นำเสนอปัญหาที่พบ + แนวทางในการปรับปรุงหลักสูตร + ประสบการณ์ 5 นาที
สัปดาห์ที่ 15 สอบปลายภาค (17 กันยายน 2554) ณ ห้อง QS1-105 เวลา 13.00-1500 น.
1. วิทยาศาสตร์และการสอนวิทยาศาสตร์
2. การศึกษาและประวัติเกี่ยวกับการศึกษา
3. หลักสูตรและองค์ประกอบของหลักสูตร
4. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร-แนวคิดสู่การปฏิบัติ
5. ปัจจัยขั้นพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
6. การกำหนด เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย เนื้อหา กิจกรรม และการวัดผลประเมินผล ของหลักสูตร
7. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการวิเคราะห์หลักสูตร
8.การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้และการเขียนแผนการสอน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น